ใบงานที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ผ้จัดทำ นาย.ปัณณรุจน์ อมรสิทธิ์สิริ
รหัส 6031280004
ระบบปฏิบัติการ ( OS – Operating System )
เป็นซอฟต์แวร์ที่เอาไว้ใช้สำหรับควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจำ ไปจนถึงส่วนนำเข้าและส่งออกผลลัพธ์ ( input/output device ) บางครั้งก็นิยมเรียกรวม ๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform ) คอมพิวเตอร์จะทำงานได้จำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู่ในเครื่องเสียก่อน ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิตเครื่องนั้น ๆ ว่าจะเลือกใช้แพลตฟอร์ม หรือระบบปฏิบัติการอะไรในการทำงาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอยู่ในคอมพิวเตอร์แทบจะทุกประเภทตั้งแต่เครื่องขนาดใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรมจนถึงระดับเล็กสุด เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์พกพาประเภทพีดีเอ
ความหมายของระบบปฏิบัติการ
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า OS (Operating System) เป็นโปรแกรม ควบคุมการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทําหน้าที่ควบคุมการทำงานต่าง ๆ เช่น การแสดงผล ข้อมูลการติดต่อกับผู้ใช้ โดยทําหน้าที่เป็นสื่อกลาง ระหว่างผู้ใช้กับเครื่องให้สามารถสื่อสารกันได้ควบคุมและจัดสรรทรัพยากรให้กับโปรแกรมต่าง ๆ
2.ระบบปฏิบัติการคอมพวิเตอร์ทำงานอย่างไร
ระบบปฏิบัติการโดยทั่วไปจะมีคุณสมบัติในการทำงานแบบต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
การทำงานแบบ Multi – Tasking คือ ความสามารถในการทำงานได้หลาย ๆ งาน หรือหลาย ๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน เช่น พิมพ์รายงานควบคู่ไปกับการท่องเว็บ ซึ่งในสมัยก่อนการทำงานของระบบปฏิบัติการจะอยู่ในรูปแบบที่เรียกว่า single-tasking ซึ่งจะทำงานทีละโปรแกรมคำสั่ง ผู้ใช้ไม่สามารถที่จะสลับงานไประหว่างโปรแกรมหรือทำงานควบคู่กันได้ แต่สำหรับในปัจจุบันจะพบเห็นลักษณะการทำงานแบบนี้มากขึ้น เช่น ในระบบปฏิบัติการ Windows รุ่มใหม่ ๆ ซึ่งทำให้การใช้งานได้สะดวกและทำงานได้หลาย ๆ โปรแกรม
การทำงานแบบ Multi – Tasking
การทำงานแบบ Multi – User
ในระบบการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกันแบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการที่ทำหน้าที่ควบคุมจะมีคุณสมบัติอย่างหนึ่งที่เรียกว่า
multi-user หรือความสามารถในการทำงานกับผู้ใช้ได้หลาย ๆ คน
ขณะที่มีการประมวลผลของงานพร้อม ๆ กัน
ทำให้กระจายการใช้ได้ทั่วถึงมากยิ่งขึ้น
การทำงานแบบ Multi – User
3.ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอน์ทำงานอะไรบ้าง
1. ติดต่อกับผู้ใช้ (User Interface)
คือ ผู้ที่ใช้สามารถที่จะติดต่อหรือควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านระบบปฏิบัติการ โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพื่อที่จะให้ผู้ใช้ป้อนคำสั่งหรือสั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ ในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างโปรมแกรมประยุกต์ต่างๆ เพื่อติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เราใช้งานด้วย
คือ ผู้ที่ใช้สามารถที่จะติดต่อหรือควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางด้านระบบปฏิบัติการ โดยที่ระบบปฏิบัติการนั้นจะส่งข้อความตอบโต้ไปยังผู้ใช้เพื่อที่จะให้ผู้ใช้ป้อนคำสั่งหรือสั่งการด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ ในขณะเดียวกันก็ทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างโปรมแกรมประยุกต์ต่างๆ เพื่อติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เราใช้งานด้วย
2. ควบคุมดูแลอุปกรณ์และการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
เนื่องจากผู้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบปฏิบัติการ อาจไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทำงานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแลการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้การทำงานของระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้อง
เนื่องจากผู้ใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ผ่านทางระบบปฏิบัติการ อาจไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจถึงหลักการทำงานภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้นระบบปฏิบัติการจึงต้องมีหน้าที่ควบคุมดูแลการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อให้การทำงานของระบบเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และสอดคล้อง
3. จัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ในระบบ
ทรัพยากร (Resource) คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อให้โปรแกรมดำเนินต่อไปได้ เช่น หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ (Memory) อุปกรณ์รับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ทรัพยากร (Resource) คือ สิ่งที่ถูกใช้ไปเพื่อให้โปรแกรมดำเนินต่อไปได้ เช่น หน่วยประมวลผล (CPU) หน่วยความจำ (Memory) อุปกรณ์รับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ดังนั้น
ระบบปฏิบัติการจะต้องจัดสรรทรัพยากรเหล่านี้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ถ้าระบบปฏิบัติการสามารถจักสรรทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพแล้ว
การทำงานของโปรแกรมต่าง ๆ ก็สามารถทำให้ได้รวดเร็ว
และได้ปริมาณงานเพิ่มขึ้นด้วย
4.จงยกตัวอย่างระบบปฏิบัติการคอมวิเตอร์มา 3 ตัวอย่าง
1. ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว ( stand – alone OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว
(เจ้าของเครื่องนั้น ๆ)
นิยมใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป เช่น
เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือสำนักงาน
ซึ่งจะถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้รองรับการทำงานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน
ดูหนัง ฟังเพลง หรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย
|
DOS (Disk Operating System)
เป็นระบบปฏิบัติการซึ่งได้มีการพัฒนาขึ้นเมื่อประมาณปี 1980
เพื่อใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเป็นหลัก
ทำงานโดยใช้การป้อนชุดคำสั่งที่เรียกว่า command- line
ซึ่งต้องป้อนข้อมูลทีละบรรทัดเพื่อให้เครื่องทำงานตามคำสั่งนั้น ๆ ได้
ผลิตขึ้นมาครั้งแรกมีชื่อเรียกว่า PC-DOS
เพื่อใช้กับเครื่องของบริษัทไอบีเอ็ม
ภายหลังเมื่อคอมพิวเตอร์ได้รับความนิยมมากขึ้นจนเกิดเครื่องที่ผลิตขึ้นมาเลียนแบบอย่างมากมายคล้ายกับเครื่องของไอบีเอ็ม
(IBM compatible ) บริษัทไมโครซอฟต์ซึ่งมีทีมงานที่เคยผลิต PC-DOS
ให้กับไอบีเอ็มมาก่อนจึงได้ทำระบบปฏิบัติการแบบใหม่ออกมาเป็นของตนเองและเรียกชื่อใหม่ภายหลังว่า
MS-DOS นั่นเอง ผู้พัฒนา DOS
|
ระบบปฏิบัติการ DOS
Windows
การทำงานที่ต้องคอยป้อนคำสั่งทีละบรรทัดเพื่อเรียกทำงานในระบบปฏิบัติการแบบ
DOS นั้น สำหรับผู้ใช้ที่ไม่มีความรู้และความชำนาญเพียงพอ
มักจะจดจำรูปแบบคำสั่งต่าง ๆ ในการใช้งานได้ไม่ค่อยดีนัก
บริษัทไมโครซอฟต์จึงได้นำเอาแนวคิดของระบบการใช้งานที่เรียกว่า GUI
(Graphical User Interface)
ซึ่งมีผู้คิดค้นขึ้นก่อนหน้านั้นไม่นานนักมาใช้ในระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อว่า
Windows เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว
ส่งผลให้ผู้ใช้และระบบปฏิบัติการสามารถทำงานงานร่วมกันได้คล่องตัวมากยิ่งขึ้น
เพราะเป็นการนำเอารูปแบบของสัญลักษณ์ที่เป็นภาพกราฟิกเข้ามาแทนการป้อนข้อมูลคำสั่งทีละบรรทัดโดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องจดจำคำสั่งต่าง
ๆ ก็สามารถใช้งานได้โดยง่าย
Windows ใช้หลักการแบ่งงานออกเป็นส่วน ๆ ที่เรียกว่า หน้าต่างงาน (windows) ซึ่งจะแสดงผลลัพธ์ของแต่ละโปรแกรม ปัจจุบันได้รับความนิยมในการใช้งานอย่างแพร่หลายและมีการผลิตและจำหน่ายออกมาหลายๆ รุ่นด้วยกันWindows XP เป็นเวอร์ชันล่าสุดที่ได้มีการพัฒนาและจำหน่ายไปยังทั่วโลก (เวอร์ชันต่อไปที่คาดว่าจะผลิตออกมามีชื่อรหัสว่า Longhorn คาดว่าจะมีการวางจำหน่ายประมาณปี 2006 - 2007)
ระบบปฏิบัติการ Windows Longhorn
ระบบ Linux พัฒนาโดยอาศัยต้นแบบการใช้งานของระบบ Unix และใช้โค้ดที่เขียนและเผยแพร่ในแบบโอเพ่นซอร์ส (open source ) ที่เปิดเผยโปรแกรมต้นฉบับให้ผู้ใช้สามารถจะพัฒนาและแก้ไขระบบต่าง ๆ ได้เองตามที่ต้องการ มีการผลิตออกมาหลายชื่อเรียกแตกต่างกันออกไป สำหรับประเทศไทยเราก็ได้มีการพัฒนา Linux ออกมาใช้บ้างแล้ว เช่น Linux TLE ของศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center ) หรือ NECTEC (อ่านว่า “ เนค - เทค” ) เป็นต้น Linux มีทั้งแบบที่ใช้สำหรับงานบนเครื่องสำหรับผู้ใช้คนเดียว และแบบที่ใช้สำหรับงานควบคุมเครือข่ายเช่นเดียวกันกับระบบปฏิบัติการแบบ Unix
ระบบปฏิบัติการ Linux
Mac OS X
เป็นระบบปฏิบัติการที่สร้างขึ้นเพื่อใช้งานเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ของบริษัทแอปเปิ้ลโดยเฉพาะเท่านั้น
ซึ่งเน้นการใช้งานประเภทสิ่งพิมพ์ กราฟิก และศิลปะเป็นหลัก
รุ่นก่อนหน้านี้จนถึง Mac OS 9
เป็นระบบปฏิบัติการแบบเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใคร แต่รุ่น OS X (X คือเลข 10
แบบโรมัน) ได้รับการพัฒนามาจากระบบปฏิบัติการแบบ UNIX
แต่ก็ยังเป็นแบบเฉพาะตัวอยู่
คือเครื่องของบริษัทอื่นหรือที่ประกอบขึ้นมาเองไม่สามารถที่จะใช้ระบบปฏิบัติการตัวนี้ได้
เนื่องจากใช้ระบบการประมวลผลที่ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้รูปแบบและการทำงานต่าง
ๆ ของ Mac OS X จะมีระบบสนับสนุนแบบ GUI เช่นเดียวกันกับระบบปฏิบัติการ
Windows (และความจริงใช้มาก่อน Windows เสียด้วยซ้ำ)
ระบบปฏิบัติการ OS X
Unix
เป็นระบบปฏิบัติการที่มักใช้กับผู้ที่มีความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ค่อนข้างมาก
รองรับกับการทำงานของผู้ใช้ได้หลาย ๆ คนพร้อมกัน ( multi-user )
การปรับเปลี่ยนและแก้ไขระบบต่าง ๆ มีความยืดหยุ่นในการทำงานได้ดีกว่า
ปัจจุบันมีการพัฒนาระบบที่สนับสนุนให้ใช้งานได้ทั้งแบบเดี่ยวและแบบเครือข่าย
ระบบปฏิบัติการ UNIX
ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( network OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi – user ) นิยมใช้สำหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสำหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็นได้กับการนำไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้เรียกว่า เครื่อง server ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับผู้ใช้นั่นเอง
Windows Server เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบเครือข่ายโดยเฉพาะ รุ่นแรกออกมาในชื่อ Windows NT และพัฒนาต่อมาเป็น Windows 2000 และรุ่นล่าสุดคือ Windows Server 2003 ผลิตออกมาเพื่อรองรับกับการใช้งานในระดับองค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ส่วนใหญ่เหมาะกับการติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย (Server )
ระบบปฏิบัติการ Windows Server
OS/2 Warp Server
เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายอีกรูปแบบหนึ่ง
ออกแบบมาสำหรับการใช้งานคอมพิวเตอร์แบบเครือข่ายสำหรับองค์กรได้เป็นอย่างดี
พัฒนาโดยบริษัทไอบีเอ็มเพื่อใช้เป็นระบบที่ควบคุมเครื่องแม่ข่ายหรือ
Server เช่นเดียวกัน แต่ไม่ประสบความสำเร็จอย่างที่หวัง
และเลิกพัฒนาต่อไปแล้ว
ระบบปฏิบัติการ OS/2 Warp Server
Solaris เป็นระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่อยู่ในตระกูลเดียวกับระบบปฏิบัติการ
Unix (Unix compatible) พัฒนาขึ้นโดยบริษัทซัน ไมโครซิสเต็มส์
สามารถรองรับการทำงานแบบเครือข่ายได้เช่นเดียวกับระบบอื่น
ระบบปฏิบัติการ Solaris
3. ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ( embedded OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทำงานของอุปกรณ์แบบไม่ประจำที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับกับการทำงานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้
ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ( Embedded OS ) เรามักจะพบเห็นการใช้งานของระบบปฏิบัติการแบบฝังนี้กับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดพกพา เช่น Palm, pocket PC, Smart phone รวมถึงอุปกรณ์ขนาดเล็กอื่น ๆ ซึ่งพอจะยกตัวอย่างได้ดังนี้
Pocket PC OS (Windows CE เดิม) บริษัทไมโครซอฟต์ ผู้ผลิตระบบปฏิบัติการยักษ์ใหญ่ที่มีความชำนาญจากการสร้างระบบที่ใช้สำหรับเครื่องพีซีมาก่อน ได้หันมาเน้นการผลิตเพื่อใช้งานร่วมกับการควบคุมในอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็กมากยิ่งขึ้น โดยสร้างระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่มีชื่อเรียกว่า Pocket PC OS (เดิมใช้ชื่อว่า Windows CE หรือ Windows Consumer Electronics แต่มีการตั้งชื่อใหม่นี้ในภายหลังซึ่งเริ่มตั้งแต่เวอร์ชัน 3.0 ขึ้นไป เพื่อให้ชื่อของระบบปฏิบัติการตัวดังกล่าวเหมือนกับชื่อของเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กไปเลย)
ระบบปฏิบัติการ Pocket PC ที่ติดตั้งไว้ในเครื่อง Pocket PC และโทรศัพท์มือถือบางรุ่น
การทำงานของระบบปฏิบัติการดังกล่าว เป็นลักษณะที่ย่อขนาดการทำงานของ
Windows ให้มีขนาดเล็กลงและกะทัดรัดต่อการใช้งานมากขึ้น (scaled-down
version ) สามารถรองรับการทำงานแบบ multi-tasking ได้เช่นเดียวกันกับ OS
ตัวอื่น ๆ เช่น ท่องเว็บหรือค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตไปได้พร้อม ๆ
กับการฟังเพลงหรือตรวจเช็คอีเมล์ได้พร้อม ๆ กับการสร้างบันทึกช่วยจำ
เป็นต้น ผู้ใช้ที่คุ้นเคยกับระบบปฏิบัติการของ Windows
มาก่อนจะใช้งานได้ง่ายและสะดวกมาก
เนื่องจากรูปแบบและหน้าต่างการทำงานจะคล้าย ๆ กัน
ปัจจุบันอาจพบเห็นในโทรศัพท์มือถือประเภท Smart phone บางรุ่นบ้างแล้ว
Palm OS
เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือได้ว่าเกิดขึ้นมาพร้อม ๆ
กันกับการนำเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในยุคแรก ๆ เรียกกันว่าเครื่อง Palm (
ผลิตขึ้นโดยบริษัทปาล์ม) ซึ่งได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในเวลาต่อมา
เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมาก่อน Windows CE หรือ Pocket PC OS ของไมโครซอฟต์
(เนื่องจากมีการผลิตเครื่องขึ้นมาใช้งานก่อนนั่นเอง)
ปัจจุบันอาจพบเห็นการนำเอาระบบนี้ไปใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพาของค่ายบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีชั้นนำ
นอกเหนือจากเครื่องของบริษัทปาล์มด้วย เช่น Visor
(ของค่ายแฮนด์สปริงซึ่งปัจจุบันรวมกิจการเข้ากับบริษัทปาล์มไปแล้ว) และ
CLIE (ของค่ายโซนี่ที่ยุติการผลิตไปแล้ว)
ซึ่งก็ใช้ระบบปฏิบัติการแบบนี้ด้วยเช่นกัน
ระบบปฏิบัติการ Palm OS ที่ติดตั้งในเครื่องประเภท Palm
ระบบปฏิบัติการ Symbian OS ในโทรศัพท์มือถือยี่ห้อ Nokia
รุ่นที่ 4 (the forth generation) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (กลาง ค.ศ. 1970 ถึงปัจจุบัน)
เทคนิคการเขียนโปรกรม OS ในรุ่นที่ 3 เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ในยุคนี้ OS จึงถูกพัฒนาให้มีความสามารถในงานพิเศษอื่นๆ เพิ่มขึ้น ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) ระบบนี้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นโดยผ่านทางเทอร์มินอลชนิดต่าง ๆ ซึ่งต้องเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายและกระจายไปตามจุดต่าง ๆ เช่นภายในอาคารสำนักงานภายในจังหวัด และทั่วโลก ซึ่งทำให้สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้โดยไม่ต้องคำนึงถึงระยะทาง และชนิดของคอมพิวเตอร์
ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non operating system)
ระบบปฏิบัติการ GNU
โครงงาน GNU คืออะไร?
โครงงาน GNU เริ่มต้นขึ้นในปี 1984 เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการ Unix
ให้เป็น Free Software: ระบบ GNU ซึ่งความแตกต่างของระบบปฏิบัติการ GNU
จะใช้ Kernel ที่เรียกว่า Linux ซึ่งมีการใช้อย่างกันอย่างแพร่หลาย
ระบบนี้มักจะถูกเรียกว่า“Linux” ซึ่งถ้าจะเรียกให้ถูกต้องแล้ว
ควรจะเรียกว่า ระบบกนู/ลินุกซ์ ( GNU/Linux systems )
GNU ย่อมาจาก “GNU’s Not Unix” ออกเสียงว่า guh-noo หรือเกือบจะเหมือน canoe
Free Software คืออะไร?
Free Software นั้นเป็นเรื่องของเสรีภาพ ไม่ใช่เรื่องของราคา
เพื่อให้เข้าใจคอนเซปต์มากยิ่งขึ้น คุณควรจะนึกถึงเสรีภาพ
หรืออิสรภาพในการพูด ไม่ใช่เบียร์ฟรี
Free Software นั้นเป็นเรื่องของเสรีภาพที่จะ run , copy , แจกจ่าย , ศึกษา , เปลี่ยนแปลงและพัฒนาซอฟแวร์ให้ดีขึ้น ถ้าจะพูดให้ชัดก็คือ มันเน้นถึงเสรีภาพที่ผู้ใช้ซอฟแวร์จะได้รับ 4 อย่างด้วยกัน คือ
Free Software นั้นเป็นเรื่องของเสรีภาพที่จะ run , copy , แจกจ่าย , ศึกษา , เปลี่ยนแปลงและพัฒนาซอฟแวร์ให้ดีขึ้น ถ้าจะพูดให้ชัดก็คือ มันเน้นถึงเสรีภาพที่ผู้ใช้ซอฟแวร์จะได้รับ 4 อย่างด้วยกัน คือ
1.อิสระที่จะ run program เพื่อจุดประสงค์อะไรก็ได้
2.อิสระที่จะเรียนรู้วิธีการทำงานของโปรแกรม
และปรับเปลี่ยนมันให้เป็นไปตามอย่างที่คุณต้องการ โดยที่ให้ใส่ Access
ให้กับ source code ก่อนถึงจะเปลี่ยนแปลงได้
3.อิสระที่จะแจกจ่าย copy เพื่อให้คุณสามารถช่วยเหลือเพื่อนของคุณได้
4.อิสระที่จะพัฒนาโปรแกรม และนำสิ่งที่คุณพัฒนาออกสู่สายตาประชาชน เพื่อที่จะให้สังคมได้รับประโยชน์จากโปรแกรมที่คุณพัฒนา และแน่นอนว่าต้องเข้าไปใส่ Access ให้กับ source code ก่อนถึงจะพัฒนาโปรแกรมได้
มูลนิธิฟรีซอฟแวร์ คืออะไร?
3.อิสระที่จะแจกจ่าย copy เพื่อให้คุณสามารถช่วยเหลือเพื่อนของคุณได้
4.อิสระที่จะพัฒนาโปรแกรม และนำสิ่งที่คุณพัฒนาออกสู่สายตาประชาชน เพื่อที่จะให้สังคมได้รับประโยชน์จากโปรแกรมที่คุณพัฒนา และแน่นอนว่าต้องเข้าไปใส่ Access ให้กับ source code ก่อนถึงจะพัฒนาโปรแกรมได้
มูลนิธิฟรีซอฟแวร์ คืออะไร?
มูลนิธิฟรีซอฟแวร์ (FSF) คือ ผู้นำองค์กรที่ให้ความสนับสนุนโครงงาน GNU
ซึ่งตอนนี้ FSF ได้รับเงินทุนสนับสนุนจากบริษัทหรือมูลนิธิต่างๆน้อยมาก
แต่จะอาศัยการสนับสนุนจากบุคคลอย่างคุณ
การช่วยเหลือ FSF ทำได้โดยการเป็นสมาชิกของ FSF, การซื้อหนังสือคู่มือ, การบริจาคเงินสนับสนุน หรือโดยการใช้ฟรีซอฟแวร์ในธุรกิจของคุณ เพื่อเป็นการสนับสนุน FSF ได้
การช่วยเหลือ FSF ทำได้โดยการเป็นสมาชิกของ FSF, การซื้อหนังสือคู่มือ, การบริจาคเงินสนับสนุน หรือโดยการใช้ฟรีซอฟแวร์ในธุรกิจของคุณ เพื่อเป็นการสนับสนุน FSF ได้
โครงงาน GNU จะช่วยสนับสนุนภารกิจของ FSF โดยการป้องกัน รักษา
และโฆษณาความเป็นอิสระในการใช้, การเรียน, ก๊อปปี้, แก้ไข,
และแจกจ่ายซอฟแวร์คอมพิวเตอร์ต่างๆ
และนอกจากนี้เรายังสนับสนุนความเป็นอิสระในเรื่องของการพูด, การพิมพ์
และการติดต่อสื่อสารทางอินเตอร์เน็ตด้วย
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
รุ่นที่ 0 (The Zeroth genaration) ยังไม่มีระบบปฏิบัติการ (ค.ศ. 1940)
ระบบคอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆ เช่น ENIAC นั้นยังไม่มีระบบปฏิบัติการ การสั่งงานจะทำด้วยมือทุก ขั้นตอน เริ่มแรกโปรแกรมเมอร์จะโหลดโปรแกรมจาก tape กระดาษ หรือบัตรเจาะรูเข้าสู่หน่วยความจำของเครื่อง โดยการกดปุ่มจาก console จากนั้นก็สั่งให้เริ่มทำงานโดยกดปุ่มเช่นกัน ในขณะที่โปรแกรมกำลังทำงานโปรแกรมเมอร์หรือโอเปอร์เรเตอร์จะต้องคอยดูอยู่ตลอดเวลา หากเกิด error ขึ้น จะต้องหยุดการทำงานและจำค่าของรีจิสเตอร์ และแก้ไขโปรแกรมโดยตรงจาก console output จะถูกบันทึกลงใน tape กระดาษหรือบัตรเจาะรู
รุ่นที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (ค.ศ. 1950)
ก่อนที่จะเริ่มมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมา การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ต้องสูญเสียเวลามากในช่วงที่งาน (Job)หนึ่งเสร็จสิ้นลงและเริ่มต้นรันงานต่อไป
ถ้าเรามีงานหลายๆ งานรอที่จะให้คอมพิวเตอร์รัน เราก็จะต้องเสียเวลาเป็นอันมาก และนอกจากนี้เราต้องทำงานเช่นนี้ซ้ำอยู่หลายครั้ง
รุ่นที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (ค.ศ. 1950)
ก่อนที่จะเริ่มมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมา การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ต้องสูญเสียเวลามากในช่วงที่งาน (Job)หนึ่งเสร็จสิ้นลงและเริ่มต้นรันงานต่อไป
ถ้าเรามีงานหลายๆ งานรอที่จะให้คอมพิวเตอร์รัน เราก็จะต้องเสียเวลาเป็นอันมาก และนอกจากนี้เราต้องทำงานเช่นนี้ซ้ำอยู่หลายครั้ง
รุ่นที่ 2 (the second generaiton) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (ค.ศ. 1960)
ในยุคนี้ OS สามารถที่จะทำงานในลักษณะมัลติโปรแกรมมิ่ง(Multiprogramming) และเป็นจุดเริ่มต้นของระบบมัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing)
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง มีการเก็บโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมเข้าไว้ในหน่วยความจำพร้อมกัน มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่นให้โปรแกรมผลัดเปลี่ยนกันเข้าใช้ CPU ที่ละโปรแกรมในช่วงเวลาสั้น ๆ จึงทำให้หลาย ๆ โปรแกรมได้ประมวลผลในเวลาที่ใกล้เคียงกัน
แต่ก็ยังมีปัญหาผู้ใช้ไม่สามารถนำโปรแกรมประยุกต์จากเครื่องที่ต่างกันมาใช้ร่วมกันได้ เนื่องจากระบบปฏิบัติการของแต่ละเครื่องมีความแตกต่างกัน ผู้ใช้จะต้องเสียเวลาในการเขียนโปรแกรมใหม่เมื่อเปลี่ยนเครื่อง
ระบบ real-time ก็เกิดขึ้นในช่วงนี้เช่นกัน
ระบบ real-time
คือระบบที่สามารถให้การตอบสนองจากระบบอย่างทันทีทันใดเมื่อรับอินพุตเข้าไปแล้ว
ในทางอุดมคติ real-time คือระบบที่ไม่เสียเวลาในการประมวลผลหรือเวลาในการประมวลผลเป็นศูนย์ แต่ในทางปฏิบัติเราไม่สามารถผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ในลักษณะนี้ได้ ทำได้แค่ลดเวลาการประมวลผลของเครื่องให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้
ส่วนมากจะนำไปใช้ในการควบคุมกระบวนการต่างๆ ในงานอุตสาหกรรม
รุ่นที่ 3 (the third generation) ระบบปฏิบัติการเอนกประสงค์ (กลาง ค.ศ. 1960 ถึงกลาง ค.ศ. 1970)
OS ในยุคนี้ถูกออกแบบมาให้สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบในรุ่นเดียวกัน และใช้ได้กับงาน หลาย ๆ ประเภท ไม่ได้เจาะจงลงไปที่ลักษณะงานใดงานหนึ่ง ทั้งนี้เป็นเพราะเหตุผลทางการค้า ผู้เขียนโปรแกรม OS ต้องการยอดขายให้ได้มาก จึงเขียน OS ให้ใครก็ได้สามารถใช้ OS ของเขาได้ และใช้กับงานหลายประเภทได้ ส่งผลให้ OS มีขนาดใหญ่ ทำงานช้าลงและแพงขึ้น
วิวัฒนาการของระบบปฏิบัติการ
รุ่นที่ 0 (The Zeroth genaration) ยังไม่มีระบบปฏิบัติการ (ค.ศ. 1940)
ระบบคอมพิวเตอร์ในยุคแรก ๆ เช่น ENIAC นั้นยังไม่มีระบบปฏิบัติการ การสั่งงานจะทำด้วยมือทุก ขั้นตอน เริ่มแรกโปรแกรมเมอร์จะโหลดโปรแกรมจาก tape กระดาษ หรือบัตรเจาะรูเข้าสู่หน่วยความจำของเครื่อง โดยการกดปุ่มจาก console จากนั้นก็สั่งให้เริ่มทำงานโดยกดปุ่มเช่นกัน ในขณะที่โปรแกรมกำลังทำงานโปรแกรมเมอร์หรือโอเปอร์เรเตอร์จะต้องคอยดูอยู่ตลอดเวลา หากเกิด error ขึ้น จะต้องหยุดการทำงานและจำค่าของรีจิสเตอร์ และแก้ไขโปรแกรมโดยตรงจาก console output จะถูกบันทึกลงใน tape กระดาษหรือบัตรเจาะรู
รุ่นที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (ค.ศ. 1950)
ก่อนที่จะเริ่มมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมา การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ต้องสูญเสียเวลามากในช่วงที่งาน (Job)หนึ่งเสร็จสิ้นลงและเริ่มต้นรันงานต่อไป
ถ้าเรามีงานหลายๆ งานรอที่จะให้คอมพิวเตอร์รัน เราก็จะต้องเสียเวลาเป็นอันมาก และนอกจากนี้เราต้องทำงานเช่นนี้ซ้ำอยู่หลายครั้ง
รุ่นที่ 1 (the first generation) ระบบประมวลผลแบบกลุ่ม (ค.ศ. 1950)
ก่อนที่จะเริ่มมีการพัฒนาระบบปฏิบัติการขึ้นมา การใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ต้องสูญเสียเวลามากในช่วงที่งาน (Job)หนึ่งเสร็จสิ้นลงและเริ่มต้นรันงานต่อไป
ถ้าเรามีงานหลายๆ งานรอที่จะให้คอมพิวเตอร์รัน เราก็จะต้องเสียเวลาเป็นอันมาก และนอกจากนี้เราต้องทำงานเช่นนี้ซ้ำอยู่หลายครั้ง
รุ่นที่ 2 (the second generaiton) ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (ค.ศ. 1960)
ในยุคนี้ OS สามารถที่จะทำงานในลักษณะมัลติโปรแกรมมิ่ง(Multiprogramming) และเป็นจุดเริ่มต้นของระบบมัลติโปรเซสซิ่ง (Multiprocessing)
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง มีการเก็บโปรแกรมหลาย ๆ โปรแกรมเข้าไว้ในหน่วยความจำพร้อมกัน มีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน เช่นให้โปรแกรมผลัดเปลี่ยนกันเข้าใช้ CPU ที่ละโปรแกรมในช่วงเวลาสั้น ๆ จึงทำให้หลาย ๆ โปรแกรมได้ประมวลผลในเวลาที่ใกล้เคียงกัน
แต่ก็ยังมีปัญหาผู้ใช้ไม่สามารถนำโปรแกรมประยุกต์จากเครื่องที่ต่างกันมาใช้ร่วมกันได้ เนื่องจากระบบปฏิบัติการของแต่ละเครื่องมีความแตกต่างกัน ผู้ใช้จะต้องเสียเวลาในการเขียนโปรแกรมใหม่เมื่อเปลี่ยนเครื่อง
ระบบ real-time ก็เกิดขึ้นในช่วงนี้เช่นกัน
ระบบ real-time
คือระบบที่สามารถให้การตอบสนองจากระบบอย่างทันทีทันใดเมื่อรับอินพุตเข้าไปแล้ว
ในทางอุดมคติ real-time คือระบบที่ไม่เสียเวลาในการประมวลผลหรือเวลาในการประมวลผลเป็นศูนย์ แต่ในทางปฏิบัติเราไม่สามารถผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ในลักษณะนี้ได้ ทำได้แค่ลดเวลาการประมวลผลของเครื่องให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้
ส่วนมากจะนำไปใช้ในการควบคุมกระบวนการต่างๆ ในงานอุตสาหกรรม
รุ่นที่ 3 (the third generation) ระบบปฏิบัติการเอนกประสงค์ (กลาง ค.ศ. 1960 ถึงกลาง ค.ศ. 1970)
OS ในยุคนี้ถูกออกแบบมาให้สามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบในรุ่นเดียวกัน และใช้ได้กับงาน หลาย ๆ ประเภท ไม่ได้เจาะจงลงไปที่ลักษณะงานใดงานหนึ่ง ทั้งนี้เป็นเพราะเหตุผลทางการค้า ผู้เขียนโปรแกรม OS ต้องการยอดขายให้ได้มาก จึงเขียน OS ให้ใครก็ได้สามารถใช้ OS ของเขาได้ และใช้กับงานหลายประเภทได้ ส่งผลให้ OS มีขนาดใหญ่ ทำงานช้าลงและแพงขึ้น
รุ่นที่ 4 (the forth generation) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (กลาง ค.ศ. 1970 ถึงปัจจุบัน)
เทคนิคการเขียนโปรกรม OS ในรุ่นที่ 3 เริ่มถึงจุดอิ่มตัว ในยุคนี้ OS จึงถูกพัฒนาให้มีความสามารถในงานพิเศษอื่นๆ เพิ่มขึ้น ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (computer network) ระบบนี้ผู้ใช้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ติดต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ของผู้อื่นโดยผ่านทางเทอร์มินอลชนิดต่าง ๆ ซึ่งต้องเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายและกระจายไปตามจุดต่าง ๆ เช่นภายในอาคารสำนักงานภายในจังหวัด และทั่วโลก ซึ่งทำให้สามารถใช้สารสนเทศร่วมกันได้โดยไม่ต้องคำนึงถึงระยะทาง และชนิดของคอมพิวเตอร์
แนวคิดเรื่องเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน (virtual machine) เริ่มนำมาใช้งานอย่างกว้างขวาง
เครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน หมายถึง การแปลงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรามีอยู่ให้กลายเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องยุ่งยากเกี่ยวกับรายละเอียดทางด้านฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์อีกต่อไป
ผู้ใช้สามารถสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนได้โดยการใช้ OS
ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนจะมี OS อีกตัวหนึ่งติดต่อกับผู้ใช้ และทำงานอยู่บน OS ของเครื่อง ซึ่ง OS ตัวที่ 2 นี้จะเป็น OS ที่ถูกสร้างขึ้นให้เหมือนกับ OS ของเครื่องอื่นที่เราต้องการให้ระบบคอมพิวเตอร์ของเราเป็น
ดังนั้นคอมพิวเตอร์และ OS ตัวแรกจะเปรียบเสมือนเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ในสายตาของผู้ใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์เสมือน หมายถึง การแปลงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เรามีอยู่ให้กลายเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องยุ่งยากเกี่ยวกับรายละเอียดทางด้านฮาร์ดแวร์ของระบบคอมพิวเตอร์อีกต่อไป
ผู้ใช้สามารถสร้างเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนได้โดยการใช้ OS
ระบบเครื่องคอมพิวเตอร์เสมือนจะมี OS อีกตัวหนึ่งติดต่อกับผู้ใช้ และทำงานอยู่บน OS ของเครื่อง ซึ่ง OS ตัวที่ 2 นี้จะเป็น OS ที่ถูกสร้างขึ้นให้เหมือนกับ OS ของเครื่องอื่นที่เราต้องการให้ระบบคอมพิวเตอร์ของเราเป็น
ดังนั้นคอมพิวเตอร์และ OS ตัวแรกจะเปรียบเสมือนเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ในสายตาของผู้ใช้
ระบบที่ไม่มีระบบปฏิบัติการ (Non operating system)
ยุคแรก ๆ คอมพิวเตอร์มีแต่เครื่องเปล่า ๆ ผู้ใช้ต้องเขียนโปรแกรมสั่งงาน ตรวจสอบการทำงาน ป้อนข้อมูล และควบคุมเอง ทำให้ระยะแรกใช้กันอยู่ในวงจำกัด
2. ระบบงานแบ็ตซ์ (Batch system)
ในอดีต คอมพิวเตอร์จะทำงานได้ครั้งละ 1 งาน การสั่งงานคอมพิวเตอร์ให้มีมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทำได้โดยการรวมงานที่คล้ายกัน เป็นกลุ่ม แล้วส่งให้เครื่อง ประมวลผล โดยผู้ทำหน้าที่รวมงาน จะรับงานจากนักพัฒนาโปรแกรม มาจัดเรียงตามความสำคัญ และตามลักษณะของโปรแกรม จัดเป็นกลุ่มงาน แล้วส่งให้ คอมพิวเตอร์ประมวลผล
3. ระบบบัฟเฟอร์ (Buffering system)
การทำงานเพื่อขยายขีดความสามารถของระบบ ทำให้หน่วยรับ-แสดงผลสามารถทำงานไปพร้อม ๆ กับการประมวลผลของซีพียู ในขณะที่ประมวลผลคำสั่งที่ ถูกโหลดเข้าซีพียูนั้น จะมีการโหลดข้อมูลเข้าไปเก็บในหน่วยความจำก่อน เมื่อถึงเวลาประมวลผลจะสามารถทำงานได้ทันที และโหลดข้อมูลต่อไปเข้ามาแทนที่ หน่วยความจำที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลที่เตรียมพร้อมนี้เรียกว่า บัฟเฟอร์ (buffer)
4. ระบบสพูลลิ่ง (Spooling)
Simultaneous Peripheral Operating On-Line เป็น multiprogramming พื้นฐาน ทำให้ซีพียูทำงานเต็มประสิทธิภาพ เพราะทำให้สามารถทำงานได้ 2 งานพร้อมกัน งานแรกคือประมวลผลในส่วนของซีพียู งานที่สองคือการรับ-แสดงผลข้อมูล ซึ่งต่างกับ buffer ที่ซีพียู และหน่วยรับ-แสดงผลทำงานร่วมกัน และ spooling มี job pool ทำให้สามารถเลือกการประมวลผลตามลำดับก่อนหลังได้ โดยคำนึงถึง priority เป็นสำคัญ
5. ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming)
การทำงานที่โหลดโปรแกรมไปไว้ในหน่วยความจำหลัก และพร้อมที่จะประมวลผลได้ทันที ระบบปฏิบัติการจะเลือกงานเข้าไปประมวลผลจนกว่าจะหยุดคอยงานบางอย่าง ในช่วงที่หยุดรอจะดึงงานเข้าไปประมวลผลต่อทันที ทำให้มีการใช้ซีพียูได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6. ระบบแบ่งเวลา (Time-sharing หรือ Multitasking)
เป็นการขยายระบบ multiprogramming ทำให้สามารถสับเปลี่ยนงานของคนหลาย ๆ คนเข้าสู่ซีพียู ซึ่งการสับเปลี่ยนที่ทำด้วยความเร็วสูงจะทำให้ผู้ใช้รู้สึกเหมือน ครอบครองซีพียูอยู่เพียงผู้เดียว
7. ระบบเรียลไทม์ (Real-time system)
จุดประสงค์อีกอย่างหนึ่งของ ระบบปฏิบัติการ คือ ระบบเวลาจริง(Real-time system) หมายถึงการตอบสนองทันที เช่นระบบ Sensor ที่ส่งข้อมูลให้คอมพิวเตอร์ เครื่องมือทดลองทางวิทยาศาสตร์ ระบบภาพทางการแพทย์ ระบบควบคุมในโรงงานอุตสาหกรรม ระบบหัวฉีดในรถยนต์ ระบบควบคุมการยิง ระบบแขนกล และ เครื่องใช้ในครัวเรือนทั้งหมด
Real-time แบ่งได้ 2 ระบบ
1. Hard real-time system เป็นระบบที่ถูกรับรองว่าจะได้รับการตอบสนองตรงเวลา และหยุดรอไม่ได้
2. Soft real-time system เป็นระบบ less restrictive type ที่สามารถรอให้งานอื่นทำให้เสร็จก่อนได้
Real-time แบ่งได้ 2 ระบบ
1. Hard real-time system เป็นระบบที่ถูกรับรองว่าจะได้รับการตอบสนองตรงเวลา และหยุดรอไม่ได้
2. Soft real-time system เป็นระบบ less restrictive type ที่สามารถรอให้งานอื่นทำให้เสร็จก่อนได้
8. ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer System)
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ราคาถูกลง มีการพัฒนาอุปกรณ์ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ทั้งแป้นพิมพ์ เมาส์ จอภาพ หน่วยความจำ หน่วยประมวลผล เป็นต้น และการใช้คอมพิวเตอร์ ไม่ได้มุ่งเน้นด้านธุรกิจเพียงอย่างเดียว แต่นำไปใช้เพื่อความบันเทิงในบ้านมากขึ้น และกลายเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกองค์กร นอกจากคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ(Desktop) ยังมีคอมพิวเตอร์แบบสมุดโน๊ต(Notebook) และคอมพิวเตอร์มือถือ (PDA) ปัจจุบันมีโทรศัพท์มือถือที่ทำงานแบบคอมพิวเตอร์ และใช้ดูหนังฟังเพลง หรือประมวลผล ต่าง ๆ ที่ซับซ้อนมากขึ้น ใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะยิ่งขึ้น
9. ระบบเวอร์ชวลแมชีน (Virtual machine)
เครื่องเสมือน ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์รู้สึกเหมือนใช้คอมพิวเตอร์เพียงคนเดียว แต่ในความเป็นจริงจะบริการให้ผู้ใช้หลายคน ในหลายโปรเซส โดยใช้เทคโนโลยี Virtual machine บริการงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ได้หลาย ๆ งานพร้อมกัน
10. ระบบมัลติโปรเซสเซอร์ (Multiprocessor system)
Symmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบสมมาตร หมายถึงการประมวลผลหลายโปรเซสเซอร์ที่ไม่มีโปรเซสเซอร์ตัวใดรับโหลดมากกว่าตัวอื่น
Asymmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบไม่สมมาตร หมายถึงการมีโปรเซสเซอร์ตัวหนึ่งเป็นตัวควบคุม และแบ่งงานแต่ละแบบให้โปรเซสเซอร์แต่ละตัวตามความเหมาะสม
Asymmetric-multiprocessing การประมวลผลแบบไม่สมมาตร หมายถึงการมีโปรเซสเซอร์ตัวหนึ่งเป็นตัวควบคุม และแบ่งงานแต่ละแบบให้โปรเซสเซอร์แต่ละตัวตามความเหมาะสม
11. ระบบแบบกระจาย (Distributed system)
ระบบเครือข่าย ที่กระจายหน้าที่ กระจายการเป็นศูนย์บริการ และเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน ด้วยจุดประสงค์ต่าง ๆ กัน ในมาตรฐาน TCP/IP ซึ่งเป็นที่ยอมรับทั้ง Windows, Linux, Unix และ Mac ทำให้ทั้งหมดสามารถสื่อสารกันรู้เรื่องเข้าใจ และก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกัน
อ้างอิง
อ้างอิง
http://www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/t20.htm
http://www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/t16.htm
http://www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/t10.htm
https://goo.gl/ncvoxD
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/32/p5-2.html
www.chantra.sru.aac.th
ตอบ - ระบบปฏิบัติการ คือ
ระบบคอมพิวเตอร์แทบทุกระบบถือว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสำคัญของ
ระบบ โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์
และผู้ใช้
- โปรแกรมประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการเช่น งานส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ เกมส์ต่างๆ
ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program โปรแกรม
ประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา
ตอบ ทำไมเครื่องคอมพิวเตอร์จึงจำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการ ตอบก็เพราะว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วน
หนึ่งที่ช่วยให้อุปกรณ์แต่ละชิ้นส่วนสามารถทำงานร่วมกันได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไม่ได้ผลิต
มาจากคนๆ เดียว แต่ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นมาจากคนจำนวนมากที่เป็นผู้ผลิตขึ้นมา ฉะนั้นจะให้อุปกรณ์เหล่า
นี้ทำงานร่วมกันได้ ก็ต้องมีตัวกลางในการประสานงาน อย่าว่าแต่คอมพิวเตอร์เลย ขนาดคนเรา ไม่ว่าจะ
ทำอะไรก็ตามยังต้องมีคนกลาง หรือผู้ประสานงาน ไม่อย่างนั้นแล้ว งานจะไม่มีทางไปในทิศทางเดียวกัน
สรุปง่ายๆ หากไม่มีระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ก็จะไม่สามารถทำงานได้ เพราะอุปกรณ์แต่ละชิ้นไม่
รู้จักกัน
http://www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/t16.htm
http://www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/t10.htm
https://goo.gl/ncvoxD
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech03/32/p5-2.html
www.chantra.sru.aac.th
แบบฝึกหัด
1.
ระบบปฏิบัติการคืออะไร
แตกต่างจากโปรแกรมประยุกต์อย่างไร
ตอบ - ระบบปฏิบัติการ คือ
ระบบคอมพิวเตอร์แทบทุกระบบถือว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วนสำคัญของระบบ โดยทั่วไประบบคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 4 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมประยุกต์
และผู้ใช้
- โปรแกรมประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการเช่น งานส่วนตัว งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์ โปรแกรมทางธุรกิจ เกมส์ต่างๆ
ระบบฐานข้อมูล ตลอดจนตัวแปลภาษา เราอาจเรียกโปรแกรมประเภทนี้ว่า User's Program โปรแกรม
ประเภทนี้โดยส่วนใหญ่มักใช้ภาษาระดับสูงในการพัฒนา
2.
ทำไมเครื่องคอมพิวเตอร์จึงจำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการ
ตอบ ทำไมเครื่องคอมพิวเตอร์จึงจำเป็นต้องมีระบบปฏิบัติการ ตอบก็เพราะว่าระบบปฏิบัติการเป็นส่วน
หนึ่งที่ช่วยให้อุปกรณ์แต่ละชิ้นส่วนสามารถทำงานร่วมกันได้ เนื่องจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไม่ได้ผลิต
มาจากคนๆ เดียว แต่ชิ้นส่วนแต่ละชิ้นมาจากคนจำนวนมากที่เป็นผู้ผลิตขึ้นมา ฉะนั้นจะให้อุปกรณ์เหล่า
นี้ทำงานร่วมกันได้ ก็ต้องมีตัวกลางในการประสานงาน อย่าว่าแต่คอมพิวเตอร์เลย ขนาดคนเรา ไม่ว่าจะ
ทำอะไรก็ตามยังต้องมีคนกลาง หรือผู้ประสานงาน ไม่อย่างนั้นแล้ว งานจะไม่มีทางไปในทิศทางเดียวกัน
สรุปง่ายๆ หากไม่มีระบบปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ก็จะไม่สามารถทำงานได้ เพราะอุปกรณ์แต่ละชิ้นไม่
รู้จักกัน
3.
อะไรบ้างที่เป็นส่วนสนับสนุนปัจจัยให้นักพัฒนาระบบปฏิบัติการพัฒนารุ่นใหม่เพิ่มเติมขึ้นมาเรื่อยๆ
ตอบ OS ต่าง ๆ
ก็ต้อง Upgrade ตัวเองไปเรื่อย ๆ
ทั้งด้วยเหตุผลจากความปลอดภัยจากการโจมตีต่างๆ
หรือให้รองรับกับอุปกรณ์ใหม่ ๆ
เทคโนโลยี่ใหม่ ๆ
4.ยกตัวอย่างโปรแกรม
เป็นระบบปฏิบัติการ
และโปรแกรมประยุกต์
ตอบ ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องเดียว
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคน
เดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป ระบบ
ปฤบัติการเครือข่ายระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่นิยมใช้กันมา คือ Netware ของผลิตภัณฑ์ของ บริษัท
Novell ที่ได้แนะนำ สู่ตลาดในปี ค.ศ. 1983 เป็นระบบปฏิบัติการของ ระบบเครือข่ายท้องถิ่น
6.แสดงความคิดเห็นว่า แนวโน้มการพัฒนาระบบปฏิบัติการจะเป็นอย่างไร
ตอบ os วินโดว์ ลีนุกซ์
ไอโอเอส แมค โปรแกรม เวิร์ด เอ็กเซลล์ โฟโต้ชอป นีโร
5.สามารถแยกแยะออกได้ระหว่างระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องเดียว
และระบบปฏิบัติการเครือข่าย
มีระบบการทำงานเป็นอย่างไร
เดียว (เจ้าของเครื่องนั้น ๆ) นิยมใช้สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ประมวลผลและทำงานแบบทั่วไป ระบบ
ปฤบัติการเครือข่ายระบบปฏิบัติการเครือข่ายที่นิยมใช้กันมา คือ Netware ของผลิตภัณฑ์ของ บริษัท
Novell ที่ได้แนะนำ สู่ตลาดในปี ค.ศ. 1983 เป็นระบบปฏิบัติการของ ระบบเครือข่ายท้องถิ่น
6.แสดงความคิดเห็นว่า แนวโน้มการพัฒนาระบบปฏิบัติการจะเป็นอย่างไร
ตอบ ลีนุกซ์กำลังเป็นระบบปฏิบัติการที่มีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมและใช้งานเพิ่มขึ้นเป็นระบบที่
บริษัทผู้ผลิตคอมพิวเตอร์หลายบริษัทอาทิ IBM, Compaq, Shape Electricsเสนอเป็นตัวเลือกแก่ลูกค้าที่
ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์
นอกจากนั้นผู้ที่สนใจติดตามข่าวในเรื่องการนำลีนุกซ์ไปใช้งาน
จะได้รับข่าวสาร
มากมายของบริษัทขนาดใหญ่หลายบริษัทที่หันมาใช้ลีนุกซ์อย่างจริงจัง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น